หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีวเวชศาสตร์

  • รับสมัครเข้าศึกษาต่อ
  • วัตถุประสงค์และผลการเรียนรู้
  • รายละเอียดหลักสูตร
  • แผนการเรียนรู้
  • บุคลากร
  • แบบสอบถาม
  • ติดต่อเรา
  • การอุทธรณ์และการร้องเรียน

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร



ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร

ELO1 แสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการทำวิจัยและเผยแพร่ผลงานวิจัย มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม และมีจรรยาบรรณของนักวิจัย

ELO2 นำความรู้และทักษะด้านการวิจัยหรือพัฒนานวัตกรรมมาประยุกต์เพื่อสร้างองค์ความรู้หรือนวัตกรรมทางชีวเวชศาสตร์ที่มีคุณภาพ

ELO3 สื่อสารและนำเสนอผลงานในศาสตร์ทางชีวเวชศาสตร์ด้วยภาษาอังกฤษ

ELO4 นำความรู้ทางชีวเวชศาสตร์บูรณาการร่วมกับศาสตร์อื่น ๆ เพื่อสร้างงานวิจัยหรือนวัตกรรมทางชีวเวชศาสตร์

ELO5 ทำงานเป็นทีมทั้งในบทบาทของผู้นำและผู้ตามได้

ELO6 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยในการสืบค้น และนําเสนอข้อมูลที่เกี่ยวข้องได้

รายละเอียดหลักสูตร

 

 

ชื่อ-หลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีวเวชศาสตร์

ชื่อ-หลักสูตร ภาษาอังกฤษ : Master of Science Program in Biomedical Sciences

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ชื่อเต็ม (ไทย) : วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ชีวเวชศาสตร์)

ชื่อย่อ (ไทย) : วท.ม. (ชีวเวชศาสตร์)

ชื่อเต็ม (อังกฤษ) : Master of Science (Biomedical Sciences)

ชื่อย่อ (อังกฤษ) : M.S. (Biomedical Sciences)

การรับรองหลักสูตร : สภามหาวิทยาลัยรับทราบและให้ความเป็นชอบหลักสูตรนี้ เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2564

โครงสร้างหลักสูตร : วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ชีวเวชศาสตร์)  หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564

หลักสูตร แผน ก แบบ ก 1
หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 36 หน่วยกิต

–  วิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต

–  รายวิชาบังคับไม่นับหน่วยกิต 6 หน่วยกิต

หลักสูตร แผน ก แบบ ก 2
หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 36 หน่วยกิต

งานรายวิชา (Course Work) ไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต

– วิชาบังคับ 6 หน่วยกิต

– วิชาเลือก 18 หน่วยกิต

– วิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต

– รายวิชาบังคับไม่นับหน่วยกิต 6 หน่วยกิต

หลักสูตร ฉบับปี พ.ศ.2564

รายวิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2564

คำอธิบายรายวิชา หลักสูตร 2564

ขั้นตอนการเข้าถึงข้อมูล ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา (CLOs)

1. เข้าไประบบการบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร TQF Management ที่ https://appspot.nu.ac.th/tqf2559/Default.aspx
2. ไปที่ Tab เอกสารมคอ.-Curriculum and TQF Documents

3. ระบุคณะ Faculty of Allied Health Sciences ระบุปีการศึกษา และระบุภาคการศึกษา จากนั้นเลือกที่ Tab TQF 3-5

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ประจำภาคต้น ปีการศึกษา 2565

  1. ผศ.ดร.พาชื่น โพทัพ (ประธานหลักสูตร)
  2. รศ.ดร.กาญจนา อู่สุวรรณทิม
  3. ผศ.ดร.เริงวิทย์ บุญโยม 
  4. ผศ.ดร.อัศนัย ประพันธ์

อาจารย์ประจำหลักสูตร ประจำภาคต้น ปีการศึกษา 2565

  1. ผศ.ดร.พาชื่น  โพทัพ 
  2. รศ.ดร.พญ.สุธาทิพย์ พงษ์เจริญ
  3. รศ.ดร.กาญจนา อู่สุวรรณทิม
  4. รศ.ดร.อรัญญา จิระวิริยะกุล
  5. รศ.ดร.วีระพงษ์ ชิดนอก
  6. รศ.ดร.อรทัย ตั้งวรสิทธิชัย
  7. ผศ.ดร.เริงวิทย์ บุญโยม 
  8. ผศ.ดร.อัศนัย ประพันธ์
  9. ผศ.ดร.จิรภาส จงจิตวิมล
  10. ผศ.ดร.ฐิติพงศ์ แก้วเหล็ก
  11. ผศ.ดร.ทวีวัฒน์ เวียงคำ
  12. ผศ.ดร.นิธิรัตน์ เนินเพิ่มพิสุทธิ์
  13. ผศ.ดร.ผุสดี แผ่นสุวรรณ์
  14. ผศ.ดร.วันวิสาข์ ตรีบุพชาติสกุล
  15. ผศ.ดร.ณัฐพสิษฐ์ ชัยอนันต์กุล
  16. ผศ.ดร.ยอดหทัย ทองศรี
  17. ผศ.ดร.หนึ่งฤทัย นิลศรี
  18. ดร.พรรณยุพา ปานคง
  19. ดร.นพดล จำรูญ
  20. ดร.นภาพร อภิรัฐเมธีกุล
  21. ดร.วรวรรษ ส่งแจ้ง

แบบประเมินผลการเรียนรู้โดยนิสิตรายชั้นปี (Yearly Learning Outcomes: YLO)
https://shorturl.asia/EFfsT

แบบสอบถามความพึงพอใจความสุขและความผูกพันของนิสิตคณะสหเวชศาสตร์
https://forms.office.com/r/R22vD30Kjq

ติดต่อเรา

หน่วยบัณฑิตศึกษา งานวิจัยและห้องปฎิบัติการ
คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
อาคารบริหารและบริการ ชั้น 2
99 หมู่ 9 ต.ท่าโพธิ์ อ.เมืองพิษณุโลก จ.พิษณุโลก 65000
โทรศัพท์ 055-96-6263

เว็บไซต์คณะ: www.ahs.nu.ac.th
เฟซบุ๊กคณะ https://www.facebook.com/AHSNU1996